"http://comment-thai.com/pimp_glitter_15748.html"

“ เมื่อไหร่ …หนูจะได้กลับบ้าน ”

ใครๆก็แก้กฎหมายได้(คุณก็ด้วย)

Teachings of Buddha Product by manoon Chongwattananukul

Bookmark and Share
Bookmark and Share

วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2553

พบ 5 โรคเรื้อรังคุกคามคนไทย ป่วยเพิ่มนาทีละคน

31 มค. 2553 11:22 น.
พบ 5 โรคเรื้อรังคุกคามคนไทย ป่วยเพิ่มนาทีละคน


นพ.ไพจิตร์ วราชิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า สธ.ได้ให้สำนักระบาดวิทยา ติดตามเฝ้าระวังปัญหาการเจ็บป่วยของคนไทยจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 5 โรค ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และโรคเรื้อรังระบบทางเดินหายใจอย่างต่อเนื่อง เพื่อรู้ขนาดปัญหาและความรุนแรง โดยเก็บข้อมูลในโรงพยาบาลทุกระดับทั่วประเทศ ผลการเฝ้าระวังตลอดปี 2551 พบว่ามีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 5 โรค ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล 44 จังหวัดรวมทั้งสิ้น 2,179,504 ราย โดยเป็น
ผู้ป่วยเบาหวาน 645,620 ราย
ความดันโลหิตสูง 1,145,557 ราย
โรคหัวใจขาดเลือด 148,206 ราย
โรคหลอดเลือดสมอง 107,709 ราย และ
โรคเรื้อรังทางเดินหายใจ 32,412 ราย
   ในจำนวนนี้เป็นผู้ป่วยรายใหม่ เมื่อเปรียบอัตราป่วยจากทั้ง 5 โรคดังกล่าวต่อประชากรทุก 100,000 คน พบ 10 จังหวัดแรกที่มีอัตราป่วยสูงสุด ได้แก่ สุโขทัย อุตรดิตถ์ ชัยนาท อ่างทอง สิงห์บุรี ลพบุรี พิษณุโลก เพชรบูรณ์ และลำปาง ซึ่งจากผู้ป่วยทั้งหมดนี้ เป็นผู้ที่เริ่มป่วยในปี 2551 จำนวน 718,297 ราย เฉลี่ยเดือนละเกือบ 60,000 ราย หรือป่วยเพิ่มขึ้นนาทีละ 1 คน อย่างไรก็ตาม สธ.ได้เร่งให้สำนักงานสาธารณสุขทุกจังหวัด (สสจ.) สำรวจสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปให้ครบทุกคน เพื่อวางแผนดูแลสุขภาพ ลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ ส่วนในรายที่ป่วยแล้ว จะต้องมีการดูแลสุขภาพต่อเนื่อง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน ซึ่งจะทำให้เกิดความพิการ หรือเสียชีวิต

ด้าน นพ.มานิต ธีระตันติกานนท์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่าหากป่วยเป็นโรคเรื้อรังแล้ว สิ่งที่ประชาชนต้องดูแลเป็นพิเศษมี 3 เรื่องใหญ่ ได้แก่ อาหาร การออกกำลังกาย และกินยาเพื่อควบคุมอาการอย่างต่อเนื่อง หากพึ่งยาอย่างเดียวแต่ไม่ปรับพฤติกรรมการกินหรือออกกำลังกาย ก็อาจไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร ในปี 2551 พบผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีอาการแทรกซ้อนทั้งหมด 224,506 ราย คิดเป็นร้อยละ 10 ของผู้ป่วยทั้งหมด โดยโรคแทรกซ้อนที่พบมากที่สุดในผู้ป่วยเบาหวาน ประมาณร้อยละ 30 เกิดที่หลอดเลือดแดง ไตวาย โรคแทรกซ้อนที่พบในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุดร้อยละ 50 คือโรคหัวใจและไตวาย ส่วนผู้ป่วยกลุ่มโรคหัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมอง และโรคเรื้อรังทางเดินหายใจส่วนล่าง โรคแทรกซ้อนที่พบบ่อยที่สุดคือกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน โรคหลอดเลือดสมอง และปอดอุดกั้นเรื้อรัง.
 


--
โปรดอ่านบล็อก
http://www.pridiinstitute.com
http://www.nakkhaothai.com
http://twitter.com/sweetblog
http://twitter.com/oknewsblog
http://twitter.com/okblogger
http://twitter.com/sat191
http://www.pacc.go.th/
http://twitter.com/okblogchan
http://twitter.com/sun1951
http://twitter.com/smeblogger
http://twitter.com/seminarblog
http://twitter.com/sunnewsblog
http://twitter.com/okworldblog
http://twitter.com/ktblogger
http://twitter.com/sundayblog
http://twitter.com/mondayblog
http://twitter.com/tuesdayblog
http://twitter.com/wednesdayblog
http://twitter.com/thursdayblog
http://twitter.com/fridayblog
http://twitter.com/saturdayblog

วันเสาร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2553

สมาคมสร้างสรรค์กิจกรรมอิสรชน

คนละเล็กคนละน้อย


JasMin Jaja 31 มกราคมเวลา 1:11 น. 

ช่วยกันหน่อยนะค่ะ คนละเล็กละน้อย เพื่อโอกาสของคนยากไร้ ตอนนี้ทึมในการลงพื้เนที่ไม่มียอดบริจาคเข้ามาเลย บริจาคได้ที่ ธ.กรุงไทย สาขาเซ็นทรัลปิ่นเกล้า เลขบัญชี 031-0-03432-9 หรือ ธ.กรุงเทพ สาขามีนบุรี เลขบัญชี 145-5-24762-5 ชื่อบัญชีสมาคมสร้างสรรค์กิจกรรมอิสรชน
http://www.facebook.com/#/note.php?note_id=322048425577&id=707849159&ref=nf

http://www.facebook.com/home.php?#/inbox/?folder=[fb]messages&page=1&tid=1341933794117

--
โปรดอ่านบล็อก
http://www.pridiinstitute.com
http://www.nakkhaothai.com
http://apps.facebook.com/blognetworks/index.php
http://www.roundfinger.com/
http://twitter.com/sweetblog
http://twitter.com/oknewsblog
http://twitter.com/okblogger
http://twitter.com/sat191
http://www.pacc.go.th/
http://twitter.com/okblogchan
http://twitter.com/sun1951
http://twitter.com/smeblogger
http://twitter.com/seminarblog
http://twitter.com/sunnewsblog
http://twitter.com/okworldblog
http://twitter.com/ktblogger
http://twitter.com/sundayblog
http://twitter.com/mondayblog
http://twitter.com/tuesdayblog
http://twitter.com/wednesdayblog
http://twitter.com/thursdayblog
http://twitter.com/fridayblog
http://twitter.com/saturdayblog

JasMin Jaja สุขภาพที่ไม่ได้รับการดูแล

JasMin Jaja สุขภาพที่ไม่ได้รับการดูแล


สุขภาพที่ไม่ได้รับการดูแล

เมื่อวานลงพื้นที่มีคนมาให้ทำแผลอีกเช่นเคย แต่แผลที่เห็นวันนี้เป็นแผลที่เน่าและหนองเต็ม เนื่องจากนายคนนี้ไปโดน น้ำร้อนจากหม้อก๋วยเตี๋ยวลวก เขารับการรักษาที่โรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่ง แต่หมอคนหนึ่งบอกให้ออกได้แล้ว แต่หมออีกคนบอกว่าแผลยังไม่หายดี ออกไม่ได้ แต่สุดท้ายไม่รู้ยังไงเขาต้องออกเพราะโรงพยาบาลนั้นไม่ให้เขารักษาจนแผลหาย แต่ปัจจุบันแผลเน่ามีหนอง เลยมาหาอิสรชนซึ่งเป็นวันนที่เราลงพื้นที่ เขามาขอทำแผล อิสรชนจึงให้ไปที่สาธารณะสุขเพื่อทำแผล ซึ่งอิสรชนทำได้แค่ทำแผลในเบื้องต้น ซึ่งในพื้นที่สนามหลวงมีหลายรายมากกับกรณีอย่างนี้ ทุกวันที่ลงพื้นที่ต้องเจอมาทำแผลไม่น้อยกว่า 2 ราย ไม่ทราบเช่นกันว่าทำไมโรงพยาบาลรัฐถึงปล่อยให้คนสนามหลวงที่ป่วยไม่อยู่รักษาต่อจนหาย อาจจะเป็นเพราะทัศนคติ หรืออะไรก็ตาม แต่คนสนามหลวงทั้งหลายไม่รู้สิทธิของตนเอง ไม่มีปากเสียงในการเรียกร้องสิทธิ อิสรชนพยายามเรียกร้องสิทธิในการรักษา ทั้งที่มีบัตร มีสิทธิฉุกเฉิน สิ่งหนึ่งที่เราพยายามทำคือ ให้คนสนามหลวงมีการรู้จักสิทธิในการรักษาพยาบาลของตน มีหลายรายที่ถูกรถทับและไม่มีผู้รับผิดชอบ เท้าเน่า แต่ก็ต้องเดินหาขยะขายเพื่อมีอาหารการกินให้ตัวเองมีชีวิตรอด เพราะฉะนั้นตอนนี้ในเบื้องต้น เรื่องยาเป็นสิ่งสำคัญมากกับคนในพื้นที่ เรื่องการรักษา การทำงานของเจ้าหน้าที่รัก ทำให้ผู้ป่วยที่สนามหลวงหลายคนไม่อยากไปโรงพยาบาล เพราะคำพูด การกระทำที่ดูถูกเขา จะเห็นได้ว่าคนสนามหลวงส่วนใหญ่ที่ไปโรงพยาบาลได้ ต้องมีรถฉุกเฉินมารับทุกครั้ง และยิ่งที่ต้องออกมาอยู่ที่ถนนแล้ว การดูแลทำความสะอาดแผลยิ่งยาก ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการบริจาค สนับสนุนกิจกรรมเพื่อนคนด้อยโอกาส ในด้านปัจจัยสี่ ในด้านยารักษาโรคได้ ที่ธ.กรุงไทย สาขาปิ่นเกล้า เลขบัญชี 031-0-03432-9 ชื่อบัญชีสมาคมสร้างสรรค์กิจกรรมอิสรชน หรือสอบถามได้ที่ คุณ อัจฉรา 086-628-2817
ปรับปรุงล่าสุดประมาณ 3 เดือนที่ผ่านมา
http://www.facebook.com/note.php?note_id=322048425577&id=707849159&ref=nf


--
โปรดอ่านบล็อก
http://www.pridiinstitute.com
http://www.nakkhaothai.com
http://apps.facebook.com/blognetworks/index.php
http://www.roundfinger.com/
http://twitter.com/sweetblog
http://twitter.com/oknewsblog
http://twitter.com/okblogger
http://twitter.com/sat191
http://www.pacc.go.th/
http://twitter.com/okblogchan
http://twitter.com/sun1951
http://twitter.com/smeblogger
http://twitter.com/seminarblog
http://twitter.com/sunnewsblog
http://twitter.com/okworldblog
http://twitter.com/ktblogger
http://twitter.com/sundayblog
http://twitter.com/mondayblog
http://twitter.com/tuesdayblog
http://twitter.com/wednesdayblog
http://twitter.com/thursdayblog
http://twitter.com/fridayblog
http://twitter.com/saturdayblog

วันศุกร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2553

การออกกำลังกายระหว่างวันทำงาน

การออกกำลังกายระหว่างวันทำงาน

 

การออกกำลังกายในระหว่างวันทำงานเป็นเรื่องที่ก่อให้ประโยชน์ต่อองค์กรได้  โดยนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย Bristol เปิด เผยว่า ผู้ที่ออกกำลังกายก่อนทำงาน หรือการออกกำลังกายในระหว่างวันทำงานจะสามารถรับมือกับงานต่างๆ ได้ดี นอกจากนี้ยังพบว่า การออกำลังกายในวันทำงานช่วยรักษาอารมณ์ให้มั่นคงได้มากกว่าวันที่ไม่ได้ออก กำลังกายอีกด้วย

การวิจัยดังกล่าวได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสาร Workplace Health Management และถือเป็นงานวิจัยชิ้นแรกที่ได้พิสูจน์ว่า การออกกำลังกายในวันทำงานส่งผลดีต่อจิตใจ ได้พอๆ กับทำให้ร่างกายแข็งแรง

Jo Coulson นักวิจัยจากภาควิชาสการออกกำลังกายโภชนาการและวิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัย Bristol “ข้อมูล จากงานวิจัยได้แสดงให้เห็นว่า หามีเรื่องขุ่นข้องหมองใจในวันทำงาน เมื่อออกกำลังกายเสร็จแล้ว อารมณ์ที่ไม่ดีมัดจะหายไป แต่ถ้าไม่ได้ออกกำลังกาย สิ่งที่รบกวนเหล่านั้นจะยังคงอยู่

เมื่อการออกกำลังกายมีประโยชน์ต่อการพัฒนางานแล้ว เรามาดูวิธีออกกำลังกาย 6 ขั้นตอน อย่างง่าย ที่ทำได้ขณะอยู่ในที่ทำงาน คือ




หมายเหตุ : ที่มา http://www.il.mahidol.ac.th/th/images/stories/exchange/tae3-08-52.pdf

ขอเชิญอ่าน blog.Thank you so much.
http://www.thaifreedompress.blogspot.com/
http://sunblog1951.blogspot.com/ sunday
http://blogpwd.blogspot.com/ pwd9
http://ktblog1951.blogspot.com/ pwday
http://newsblog9.blogspot.com/ news
http://bloghealth99.blogspot.com/ health
http://labour9.blogspot.com/ labour
http://www.media4democracy.com/th/
http://www.youngtelecom.org/
http://www.logex.kmutt.ac.th/
http://www.mict4u.net/thai/
http://www.chula.ac.th/visitors/thai/calendar.htm
http://www.agkmstou.com/2008/index.php
http://www.baanjomyut.com/library/lotus/index.html
http://www.asianbarometer.org/newenglish/introduction/default.htm
http://www.isriya.com/node/2809/wordcamp-bangkok-2009-pool-party